หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการบริหารองค์กร
 


            " ธรรมาภิบาล " (Good Governance) หมายถึง การบริหารจัดการบ้านเมือง สังคม องค์กร สถาบัน หรือธุรกิจ
     ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต
(Honestey) ความเปิดเผย โปร่งใน (Tranparent) ความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ (Accountability) ความ
     ยุติธรรม (
Fairness) ความมีคุณภาพ
ประสิทธิภาพ (Quality and Efficency) และการมีมาตรฐาน คุณธรรม จริยธรรม เป็นการทั่วไป
     (
General Ethical and Mora Standard)

          ธรรมาภิบาลในธุรกิจ = บรรษัทภิบาล (Corporate Governance) คือการกำกับกิจการที่ดีซึ่งถือเป็นหลักเบื้องต้นที่มุ่งสร้าง
     ให้องค์กร
มีความ "ดี" อันเป็นรากฐานแห่งความยั่งยืนของกิจการ นอกเหนือจากการบริหารกิจการ เพื่อให้องค์กรมีความ "เก่ง"
     และนะไปสู่การเจริญเติบโต
ของกิจการ

      หลักและแนวทางปฏิบัติของบริษัทธรรมาภิบาล
                 1. หลักการดำเนินธุรกิจ
                       
1.1 การกำหนดกลยุทธ์ และทิศทางธุรกิจ
                       
1.2 การบริหารความเสี่ยง
                       
1.3 การควบคุมภายใน
        
                  1.4 การติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน
                        1.5 การปฎิบัติตามกฏหมาย และระเบียบที่เกี่ยวข้อง
                
2. ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ และการรักษาข้อมูลอันเป็นความลับต่อกิจการ
                        2.1 ความขัดแย้งทางผลประโยชน์   

                        2.2 การให้และรับสินบนของขวัญ และการเลี้ยงรับรองทางธุรกิจ

                       
2.3 การรักษาข้อมูลอันเป็นความลับของกิจการ

                 
3. การปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ตลอดจนบุคคลในสังคม
                       
3.1 นโยบายการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้น

                  3.2 นโยบายการปฏิบัติต่อพนักงาน
                       
3.3 นโยบายการปฏิบัติต่อลูกค้า 
                       
3.4 นโยบายการปฏิบัติต่อลูกค้า หรือเจ้าหนี้
                 
3.5 นโยบายและการปฏิบัติต่อคู่แข่งทางการค้า   
                       
3.6 นโยบายและการปฏิบัติด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดลัอ
                       
3.7 นโยบายและการปฏิบัติด้านความรับผิดชอบต่อสังคมและส่วนรวม

           ประโยชน์ของธรรมาภิบาล กับการกำกับดูแลกิจการที่ดี
                    1. เพิ่มความน่าเชื่อถือของกิจการ
                    2. สามารถเข้าถึงผู้ร่วมลงทุน และระดมเงินทุนได้ง่าย
                    3. มีพนักงานที่ดีมีความสามารถ และรักองค์กร
                    4. เพิ่มขีดความสามารถทางการตลาด
                    5. การยอมรับของสังคมในการดำเนินกิจการ
                    6. เพิ่มภูมิคุ้มกันให้แก่กิจการ
                    7. เพิ่มโอกาสในการสร้างผลกำไร และเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน